อ้างอิง ของ วัดบึงทองหลาง (กรุงเทพมหานคร)

  1. ดร.พิเชฐ ทั่งโต,ปกิณกะคำสอนหลวงพ่อโต, (กรุงเทพ ฯ ,สำนักพิมพ์สินธนา,2549 : พิมพ์เนื่องในงานครบรอบ 80 ปี พระครูพิศาลวิริยคุณ) หน้า 100-112
  2. หลักฐานใน พระราชพงศาวดารและจารึกวัดพระเชตุพน ในสมัยรัชกาลที่ 1 กล่าวถึงการรวบรวมพระพุทธรูปเมื่อ พ.ศ. 2337 ว่าเป็นการกระทำเพื่อบำรุงพระพุทธศาสนาให้รุ่งเรืองสืบไป ด้วยการโปรดเกล้าฯ ให้รวบรวมพระพุทธรูปที่ปรักหักพังจากหัวเมืองเหนือ คือสุโขทัย พิจิตร สวรรคโลก ลพบุรี และอยุธยา ลงมาปฏิสังขรณ์ จากนั้นก็ให้ประดิษฐานไว้ที่วัดพระเชตุพนฯ จำนวน 1,248 องค์ บางส่วนที่เหลือก็แจกจ่ายให้เชื้อพระวงศ์ หรือข้าราชการคนอื่นๆ นำไปบูชา ประดิษฐานไว้ตามพระอารามต่างๆ วิราวรรณ นฤปิติ. (2560). การเมืองเรื่องพระพุทธรูป. กรุงเทพ ฯ : สำนักพิมพ์มติชน.
  3. พระมหาทิม หรือเจ้าคุณทิม แต่เดิมอยู่วัดสุทัศนเทพวราราม เช่นเดียวกับหลวงปู่พัก ธมฺมทตฺโต และถูกส่งมาเป็นเจ้าอาวาสวัดเทวราชกุญชรในภายหลัง รวมทั้งเป็นคู่สวดหลวงปู่พักด้วย มีข้อมูลว่าเป็นชาววัดบึงทองหลาง บางกะปิ กรุงเทพ จนกระทั่งหลวงปู่พัก ธมฺมทตฺโต หรือ พระครูธรรมสมาจารย์ (พัก ธมฺมทตฺโต) ถูกส่งมาเป็นเจ้าอาวาสวัดบึงทองหลาง (พ.ศ. 2445-2501) โดยสมเด็จพระสังฆราชแพ เมื่อมาอยู่แล้วได้ดำริสร้างอุโบสถเมื่อ พ.ศ. 2462 จึงได้จัดหาพระประธาน จึงได้มาพบปรึกษากับเจ้าคุณทิม ในฐานะคนวัดบึงทองหลางและเป็นครูอาจารย์ โดยได้อนุญาตให้หลวงปู่พัก เลือกพระพุทธรูปจากวัดเทวราชกุญชร ไปเพื่อเป็นพระประธานในอุโบสถ โดยที่สมเด็จพระสังฆราชแพ เป็นผู้ตั้งชื่อพระประธานนี้ว่า "หลวงพ่อพรศรีสุเวสสุวรรณ" ด้วยหลวงปู่พักเคยอยู่จำพรรษาวัดสุทัศน์ และมีสมเด็จพระสังฆราชแพเป็นพระคู่สวด (หนังสือที่ระลึกงานสมโภชน์ยกช่อฟ้าและฉลองมณฑปธรรมสมาจารย์นุสรณ์ วัดบึงทองหลาง เขตบางกะปิ กทม. วันที่ 30 เดือน มีนาคม พุทธศักราช 2552,กรุงเทพ ฯ , สำนักพิมพ์ธรรมสภา,2552, หน้า 20-30).
  4. หนังสือที่ระลึกงานสมโภชน์ยกช่อฟ้าและฉลองมณฑปธรรมสมาจารย์นุสรณ์ วัดบึงทองหลาง เขตบางกะปิ กทม. วันที่ 30 เดือน มีนาคม พุทธศักราช 2552,กรุงเทพ ฯ , สำนักพิมพ์ธรรมสภา,2552, หน้า 20-30.
  5. ดร.พิเชฐ ทั่งโต,ปกิณกะคำสอนหลวงพ่อโต, (กรุงเทพ ฯ ,สำนักพิมพ์สินธนา,2549 : พิมพ์เนื่องในงานครบรอบ 80 ปี พระครูพิศาลวิริยคุณ) หน้า 110-111
แขวง
ประวัติศาสตร์
ภูมิศาสตร์
เศรษฐกิจ
คมนาคม
ธุรกิจ
สังคม
การศึกษา
กีฬา
คุณภาพชีวิต
วัฒนธรรม
บทความเกี่ยวกับวัดนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล